Loading

Click to view in fullscreen.
1/296
First
Previous
Next
Last
More

Table of Contents

  • Blank Page

  • บทที่

  • 1.5.2.1 การกระทำทั้งหมดหรือการแสดงออกมนุษย์เป็นการแสดงออกของจิตเพื่อปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การศึกษาจิตใจคนจึงต้องศึกษาที่การแสดงออกในสถานการณ์ต่างๆ

  • 1.5.2.2 การกระทำหรือการแสดงออกทั้งหมดเกี่ยวข้องกับประสบการณ์ของแต่ละบุคคล พฤติกรรมของแต่ละคนจึงแตกต่างกันออกไป

  • หน่วยที่

  • บทที่ 4

  • แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาตน

  • ชลลดา ชูวณิชชานนท์

  • หัวข้อเนื้อหา

  • กระบวนการพัฒนาตน

  • กระบวนการ

  • พัฒนาตน

  • บทที่

  • บทที่ 5

  • หน่วยที่

  • บทที่ 6

  • โทษของการติดยาเสพติด

  • ยาเสพติดที่แพร่หลายในประเทศไทย

  • ผู้ที่ยิ่งเริ่มดื่มตั้งแต่อายุน้อยๆ เท่าใด ผู้นั้นมีโอกาสมีปัญหามากเท่านั้น และมีแนวโน้มที่จะติดยาเสพติดร่วมด้วยเสมอ โดยเฉพาะเด็กในวัยนี้ จะอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มเป็นการยากที่จะหยุดได้ ถ้าหากยังอยู่ในแวดวงสิ่งแวดล้อมเดิม นอกจากนี้ตามสถิติของการเกิดอุ...

  • 1) ประเภท วิสกี้ ยิน วอทก้า บรั่นดี และเหล้าทั้งหลาย จะมีปริมาณแอลกอฮอลล์ประมาณ 40-50 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร

  • 2) ประเภทไวน์ โดยทั่วไปจะมีปริมาณแอลกอฮอลล์ ประมาณ 12-15 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร และไม่ขึ้นกับรสชาดของไวน์นะคะ

  • 3) ประเภทไวน์ คูลเล่อร์ แม้ว่าจะมีรสชาติค่อนไปทาง ซอฟท์ ดริ้งท์ ไวน์คูลเล่อร์ จะมีปริมาณแอลกอฮอลล์ประมาณ 3-5 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร

  • 4) ประเภทเบียร์ ไล้ท์เบียร์ในต่างประเทศ จะมีปริมาณ แอลกอฮอลล์ประมาณ 3.5 เปอร์เซ็นต์ ต่ำกว่าเบียร์ทั่วๆไปที่มีแอลกอฮอล์ 5 เปอร์เซ็นต์ สำหรับเบียร์ในประเทศไทย จะมีประมาณแอลกอฮอล์อยู่ที่ 10-12 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร

  • ปริมาณของการดื่ม

  • การดื่มและผลที่เกิดในแต่ละคนขึ้นกับอัตราการดูดซึมแอลกอฮอล์เข้าสู่กระแสเลือดในคนแต่ละคนอาจแตกต่างกันไป ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้

  • (1) รูปร่างของผู้ที่ดื่ม ผู้ที่รูปร่างสูงใหญ่ย่อมมีปริมาณของเลือดมากกว่าคนตัวเล็ก ปริมาณของแอลกอฮอล์ในเลือดอาจขึ้นช้าๆ เช่นเดียวกับการขับถ่ายอาจต้องใช้เวลามากกว่าคนตัวเล็ก

  • (2) การรับประทานอาหารระหว่างการดื่ม ผู้ที่มีอาหารอยู่ในกระเพาะหรือลำไส้ จะมีผลทำให้การดูดซึมของแอลกอฮอล์เข้าสู่กระแสเลือดช้าลงกว่าผู้ที่ท้องว่าง

  • (3) ความเร็วของการดื่ม รวมทั้งชนิดของเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์นั้นๆ ด้วย ถ้าท่านดื่มด้วยความรวดเร็ว หรือดื่มสุราเพียวๆ เข้าไป ปริมาณแอลกอฮอล์ในกระแสเลือดก็จะขึ้นสูงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งขณะที่กระเพาะอาหารว่าง

  • (4) ปริมาณของแอลกอฮอล์อาจต้องการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในรายที่ดื่มเป็นประจำ เพราะร่างกายคุ้นเคย บางท่านอาจมีระดับแอลกอฮอล์ในเลือดสูงมาก ถ้าเป็นในคนทั่วๆไป อาจจะเมาเหล้าอย่างหนักไปแล้ว แต่ผู้ที่ดื่มเป็นประจำอาจจะยังพูดรู้เรื่องดี แต่ผลเสียก็คือระดับของแอลกอ...

  • ในสุภาพสตรี มีความแตกต่างของระบบน้ำย่อยในกระเพาะอาหารของผู้หญิงและผู้ชาย และเนื่องจากผู้หญิงมีเซลล์ไขมันมากกว่าผู้ชาย และเซลล์ไขมันไม่สามารถดูดซึมแอลกอฮอล์ได้ ทำให้การดื่มเหล้าขนาดเท่ากัน ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดของผู้หญิงจะสูงกว่า

  • (1) ท่านควรที่หัดพูดปฏิเสธ คนส่วนใหญ่ดื่มเบียร์ ไวน์ หรือเหล้า เพราะไม่อยากปฏิเสธเพื่อนฝูงที่กำลังดื่มกันอยู่ ถ้าท่านสามารถปฏิเสธการดื่มได้ ท่านก็ควรปฏิเสธไปเลย ไม่มีใครมาบังคับท่านได้ และไม่เป็นการเสียมารยาทแต่อย่างใด แต่ถ้าหากท่านดื่มไปจนถึงจำนวนที่...

  • (2) ท่านควรดื่มอย่างช้าๆ ไม่ว่าท่านจะดื่มเหล้า เบียร์หรือไวน์ ท่านควรค่อยๆ ดื่มทีละน้อย อาจจะผสมเหล้าให้บางหน่อยเพื่อที่จะได้ดื่มตลอดงานนั้นๆ ไม่เกินปริมาณการดื่มที่ท่านได้ตั้งใจเอาไว้

  • (3) ท่านไม่ควรนั่งดื่มแต่เพียงผู้เดียว ท่านควรดื่มเหล้า เบียร์ หรือไวน์เฉพาะในงานสังคมเท่านั้น ถ้าท่านอยู่คนเดียว การดื่มเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น น้ำผลไม้ น้ำส้ม น้ำชาหรือกาแฟ พร้อมกับนั่งอ่านหนังสือหรือฟังเพลงสบายๆ น่าจะดีกว่าการดื่มเครื่องดื่มที่มี...

  • (1) สุรากับอุบัติเหตุ

  • ถ้าหากท่านจะต้องไปร่วมงานเลี้ยงสังสรรค์ ที่มีการดื่มสุรา เบียร์ หรือไวน์ในงานนั้น ๆ วิธีที่ปลอดภัยที่สุด ถ้าท่านเป็นผู้ที่ดื่มด้วยก็คือการอาศัยกลับบ้านกับเพื่อนที่ไม่ดื่ม หรืออาจจะกลับโดยรถแท็กซี่ก็ได้ เพราะจากสถิติของอุบัติเหตุทางรถยนต์หรือจักรยานยนต...

  • หลังจากนั้นต่อมาอีก 35 ปี คือเมื่อปี พ.ศ. 2502 เฮโรอีนจึงได้แพร่ระบาดสู่ประเทศไทย และในปี พ.ศ. 2504 ประเทศไทยจึงออกกฎหมาย ระบุให้เฮโรอีนและมอร์ฟีนเป็นยาเสพติดให้โทษเฮโรอีนออกฤทธิ์แรงกว่ามอร์ฟีนประมาณ 4-8 เท่า และออกฤทธิ์แรงกว่าฝิ่น ประมาณ 30-90 เท่...

  • ประเภทของเฮโรอีนที่แพร่ระบาดในประเทศไทย แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

  • (1) เฮโรอีนผสม หรือเรียกว่าเฮโรอีนเบอร์ 3 หรือไอระเหย เป็นเฮโรอีนที่มีความบริสุทธิ์ต่ำ เนื่องจากมีการผสมสารอื่นเข้าไปด้วย เช่น ผสมสารหนู สตริกนิน ยานอนหลับ กาเฟอีน แป้ง น้ำตาลและอาจผสมสี เช่น สีม่วงอ่อน สีชมพูอ่อน สีน้ำตาล อาจพบในลักษณะเป็นผง เป็นเกล็...

  • (2) เฮโรอีนเบอร์ 4 เป็นเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ที่มีความบริสุทธิ์สูง มีลักษณะเป็นผงละเอียด หรือเป็นเม็ดคล้ายไข่ปลา หรือพบในลักษณะอัดเป็นก้อนสี่เหลี่ยมผืนผ้า มักมีสีขาวหรือสีครีม ไม่มีกลิ่น มีรสขม เป็นที่รู้จัดทั่วไปว่า "ผงขาว" มักเสพโดยนำมาละลายน้ำและฉีดเข...

  • (1) มีอาการปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก ปวดตามข้อ ปวดสันหลัง ปวดบั้นเอว ปวดหัวรุนแรง

  • (2) มีอาการจุกแน่นในอก คล้ายใจจะขาด อ่อนเพลียอย่างหนัก หมดเรี่ยวแรงมีอาการหนาว ๆ ร้อน ๆ อึดอัดทุรุนทุราย นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย บางรายมีอาการชักตาตั้ง น้ำลายฟูมปาก ม่านตาดำหดเล็กลง

  • (3) ใจคอหงุดหงิดฟุ้งซ่าน มึนงง หายใจไม่ออก

  • (4) ประสาทเสื่อม ความจำเสื่อม

  • (1) ผลต่อจิตใจ เมื่อเสพยาบ้าเป็นระยะเวลานานหรือใช้เป็นจำนวนมาก จะทำให้ผู้เสพมีความผิดปกติทางด้านจิตใจ กลายเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวง ส่งผลให้มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป เช่น เกิดอาการหวาดหวั่น หวาดกลัว ประสาทหลอน ซึ่งโรคนี้หากเกิดขึ้นแล้ว อาการจะคงอยู่ตลอดไป...

  • (2) ผลต่อระบบประสาท ในระยะแรกจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทำให้ประสาทตึงเครียด แต่เมื่อหมดฤทธิ์ยาจะมีอาการประสาทล้า ทำให้การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ช้า และผิดพลาด และหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้สมองเสื่อม หรือกรณีที่ใช้ยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกดปร...

  • (3) ผลต่อพฤติกรรม ฤทธิ์ของยาจะกระตุ้นสมองส่วนที่ควบคุมความก้าวร้าว และความกระวนกระวายใจ ดังนั้นเมื่อเสพยาบ้าไปนาน ๆ จะก่อให้เกิดพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป คือ ผู้เสพจะมีความก้าวร้าวเพิ่มขึ้น และหากยังใช้ต่อไปจะมีโอกาสเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวง เกรงว่าจะมีค...

  • (1) ผลต่ออารมณ์ เมื่อเริ่มเสพในระยะแรกยาอีจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ให้ผู้เสพรู้สึกตื่นตัวตลอดเวลา ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ เป็นสาเหตุให้เกิดพฤติกรรมสำส่อนทางเพศ

  • (2) ผลต่อการรับรู้ การรับรู้จะเปลี่ยนแปลงไปจากความเป็นจริง

  • (3) ผลต่อระบบประสาท ยาอีจะทำลายระบบประสาท ทำให้เซลล์สมองส่วนที่ทำหน้าที่หลั่งสารซีโรโทนิน (Serotonin) ซึ่งเป็นสารสำคัญในการควบคุมอารมณ์นั้น ทำงานผิดปกติกล่าวคือ เมื่อยาอีเข้าสู่สมองแล้ว จะทำให้เกิดการหลั่งสาร "ซีโรโทนิน" ออกมามากเกินกว่าปกติส่งผลให้จิ...

  • (4) ผลต่อสภาวะการตายขณะเสพ มักเกิดเมื่อผู้เสพสูญเสียเหงื่อมากจากการเต้นรำ ทำให้เกิดสภาวะขาดน้ำอย่างฉับพลัน หรือกรณีที่เสพยาอีพร้อมกับดื่มแอลกอฮอล์เข้าไปมาก หรือผู้ที่ป่วยเป็นโรคหัวใจ จะทำให้เกิดอาการช็อคและเสียชีวิตได้

  • (1) ระบบทางเดินหายใจ มีอาการระคายเคืองหลอดลม เยื่อบุจมูกมีเลือดออก หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ

  • (2) ระบบทางเดินอาหาร มีเลือดออกในกระเพาะอาหาร เนื้อตับถูกทำลาย

  • (3) ระบบทางเดินปัสสาวะ ไตอักเสบจนถึงพิการ ปัสสาวะเป็นเลือดเป็นหนอง หรือมีลักษณะคล้ายไข่ขาว

  • (4) ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นผิดปกติ

  • (5) ระบบสร้างโลหิต ไขกระดูกซึ่งมีหน้าที่สร้างเม็ดโลหิตหยุดทำงาน เกิดเม็ดโลหิตแดงต่ำ เกล็ดเลือดต่ำทำให้ซีด เลือดออกได้ง่าย ตลอดจนทำให้เลือดแข็งตัวช้าในขณะที่เกิดบาดแผล บางรายเกิดเป็นมะเร็งในเม็ดเลือดขาว

  • (6) ระบบประสาท ปลายประสาทอักเสบ มีอาการชาตามปลายมือ ปลายเท้า เกิดอาการอักเสบของกล้ามเนื้อ ทำให้ลูกตาแกว่ง ลิ้นแข็ง พูดลำบาก สมองถูกทำลายจนเซลล์สมองฝ่อ เป็นโรคสมองเสื่อมก่อนวัยอันควร

  • 1) ตัดสินใจให้แน่วแน่คือ “ควรงดทันที มิใช่ลด”

  • 2) พยายามทำจิตใจให้แจ่มใสไม่เครียด

  • 3) พยายามนึกถึงผลเสียหรือโทษของบุหรี่

  • 4) ยึดมั่นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่นับถือ เพื่อเป็นสิ่งช่วยเสริมกำลังใจ

  • Uข้อแนะนำในระหว่างการเลิกสูบบุหรี่

  • (1) ดื่มน้ำเปล่าวันละ 8-10 แก้ว ควรดื่มน้ำมาก ๆ จะช่วยกำจัดนิโคตินออกจากร่างกาย

  • (2) งดน้ำชา กาแฟ และเครื่องดื่มที่มี “คาเฟอีน” ตลอดจนเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ทุกชนิด

  • (3) ถ้ารู้สึกง่วงควรอาบน้ำ หรือใช้ผ้าชุบน้ำเย็นเช็ดหน้า จะทำให้รู้สึกสดชื่น

  • (4) อย่ารับประทานอาหารให้อิ่มจนเกินไปในระยะแรกของการเลิกสูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสจัด

  • (5) รับประทานผัก และผลไม้ให้มากขึ้น แทนอาหารที่รับประทานอยู่เป็นประจำ

  • (6) ออกกำลังกายให้เพียงพอ

  • 3) วิธีเลิกสูบบุหรี่

  • หนังสือ

  • 1. พ่อแม่ผู้ปกครองให้เวลากับเขา

  • 2. การสังเกต พฤติกรรม ความชอบ นิสัย เพื่อค้นหา สิ่งที่เขาทำได้ดี

  • 3. การฟัง ความต้องการ ความรู้สึกที่เกิดขึ้น เวลาเขามองตัวเอง ว่าเป็นอย่างไร พอใจในสิ่งที่ตัวเองเป็น

  • 4. การส่งเสริมพัฒนาสิ่งที่ทำได้ดีอยู่แล้ว ให้ดีขึ้น เช่น หาครูมาฝึกหาหนังสือให้อ่าน พาไปให้เห็นของจริง ซื้อมาให้ฝึกเปิดโอกาสให้เขาได้ศึกษาอย่างจริงจัง เป็นต้น

  • 5. การติดตามเอาใจใส่ ให้กำลังใจ เช่น การชื่นชมเมื่อทำได้ดี พาไปโชว์ให้มีโอกาสได้นำเสนอ

  • เรื่องที่ 7.2.3 การสร้างคุณค่าในชีวิตของวัยผู้ใหญ่หรือวัยทำงาน

  • การสร้างความเชื่อมั่นในคุณค่าของตนเอง ผู้ที่จะประสบความสำเร็จในหน้าที่การงานและเติบโตขึ้นไปเป็นหัวหน้างานที่มีศักยภาพได้ ต้องมีแรงจูงใจในความเป็นผู้นำ และมีความสามารถในการสร้างแรงจูงใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา แต่โดยทั่วไปเรามักจะแสวงหาวิธีการในการสร...

  • บทที่

  • หน่วยที่ 8

Search

Bookmark

Add To Page 1
PageTitleEdit